การปฏิบัติตัวเมื่อได้รับการฉายรังสี

ก่อนการฉายรังสี รังสีรักษาคือ การใช้รังสีพลังงานสูงมุ่งไปที่รอยโรคมะเร็ง โดยเครื่องมือทันสมัยควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ รังสีจะมีผลทำลายเซลล์มะเร็ง แต่ในขณะเดียวกันก็มีผลกับเซลล์ร่างกายเช่นกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทำให้การรักษาด้วยรังสีรักษา อาจแบ่งเป็นจำนวนครั้งและขนาดของรังสีแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย การวางแผนฉายรังสี…

การรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่

รูปก้อนเนื้อในลำไส้ ลำไส้ใหญ่ เป็นลำใส้ส่วนปลายของระบทางเดินอาหาร หลักการรักษาโรคมะเร็งบริเวณล่าใส้ใหญ่จำเป็นต้องคำนึงถึงถึงรายละเอียดต่างๆ ดังนี้คือ ชนิด, ตำแหน่ง และขนาดของพยาธิสภาพ, ตลอดจน ระยะของโรค…

คำแนะนำก่อนเข้ารับการผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่

มาตามนัดหมายของแพทย์เพื่อตรวจร่างกาย และตรวจเลือดเตรียมผ่าตัด แจ้งแพทย์ถึงโรคประจำตัวและยาที่กินอยู่ให้ครบถ้วน ทานอาหารที่มีประโยชน์โดยเน้นกลุ่มอาการประเภทโปรตีนสูง เช่น ไข่ ไก่ ปลา และควรลด หรืองด…

คำแนะนำหลังจากเข้ารับการผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่

การดูแลแผลผ่าตัด หลังการผ่าตัดจะมีผ้าก็อชปิดบาดแผลไว้ และเปิดทำความสะอาดในวันที่ 3 หลังผ่าตัดดูแลล้างแผลตามที่แพทย์แนะนำ หากแผลติดยาก มีเลือดออก หรือบริเวณแผลบวมแดงมากขึ้น ควรรีบมาพบแพทย์ กรณีใส่สายระบายที่แผล…

การดูแลลำไส้ใหญ่เปิดทางหน้าท้องสำหรับผู้มีทวารเทียม (Colostomy Care)

  ในผู้ป่วยบางคนต้องมีการผ่าตัดนำเอาลำไส้ใหญ่มาเปิดที่หน้าท้อง เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาลำไส้อุดตันถ่ายอุจจาระไม่ได้ ซึ่งรูเปิดนี้อาจใช้ชั่วคราวหรือถาวร ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของตัวโรคและการผ่าตัด ว่าในภายหลังผู้ป่วยจะยังสามารถถ่ายอุจจาระออกทางก้นได้หรือไม่ ศัลยแพทย์และทีมแพทย์สหสาขาจะตัดสินใจวางแผนการรักษาร่วมกัน การดูแลรูเปิดหน้าท้อง เลือกใช้ขนาดแป้นที่เหมาะสม ถ้าเล็กเกินไปจะระคายเคืองผิวหนังบริเวณรูเปิดได้…

การปฏิบัติตัวเมื่อได้รับเคมีบำบัด

ยาเคมีบำบัดมีผลกำจัดเซลล์มะเร็ง แต่ก็มีผลข้างเคียงกับเซลล์ทั่วร่างกายเช่นกัน สูตรยาเคมีบำบัดอาจประกอบไปด้วยยาชนิดเดียวหรือหลายชนิด ทั้งนี้ขึ้นกับเป้าหมายการรักษาและการประเมินผู้ป่วยโดยแพทย์ การให้ยาเคมีบำบัดมักจะให้เป็นรอบ เพื่อกำจัดเซลล์มะเร็งที่มีการแบ่งตัวเป็นระยะต่างๆ ช่วงเวลาพักระหว่างรอบทำให้ร่างกายได้ฟื้นตัวจากผลข้างเคียง ยาเคมีบำบัดที่ใช้ในโรคมะเร็งลำไส้และผลข้างเคียงที่พบบ่อย 5-Fluorouracil  ผลข้างเคียงที่พบบ่อย…